วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

บทที่ 7 การโอนย้ายข้อมูลข้ามเครื่อข่าย

บทที่ 7 การโอนย้ายข้อมูลข้ามเครื่อข่าย

           การท่องโลกอินเตอร์เน็ตทำให้เราได้พบข้อมูลมากมาย เช่น ไฟล์ข้อมูล โปรแกรม หรือ รูปภาพที่สนใจ ซึ่งเราจะต้องการนำเสนอข้อมูลเหล่านี้นี้มาเก็บข้อมูลเหล่านี้มาเก็บไว้เพื่อใช้งานในโอกาสต่อไปใช้งานในโอกาสต่อไป ซึ่งข้อมูลต่างๆ นั้น มักจะอนุญาตให้ผู้เข้าไปเยี่ยมชม สามรถที่จะดึงข้อมูลเหล่านั้นมาเก็บไว้ที่เครื่องของตนเองได้
          
ลักษณะของการโอนย้ายข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต
           สามรถแบ่งออก 2 รูปแบบ คือ
          การดาวน์โหลด (Download)
          การดาวน์โหลด คือ การนำเอาไฟล์ข้อมูล โปรแกรม หรือรูปภาพ จากระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตมาเก็บไว้
      การอัพโหลด
          การอัพโหล คือ การเอาไฟล์ข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา ไปเก็บไว้ยังระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น การสร้างเว็บไซต์บนเครือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เมื่อต้องการที่จะทำเผยแพร่ข้อมูลระบบเครือข่ายระบบอินเตอร์เน็ต ก็ต้องส่งข้อมูลเหล่านั้นไปเก็บยังเครื่องคอมพิวเตอร์
    ประเภทของโปรแกรมดาวน์โหลด
          ในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สามารที่จะดาวโหลดโปรแกรมต่างๆ
จากอินเตอร์เน็ตมาใช้งาน ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้สามารถจัดแบ่งประเภทของโปรแกรมออกเป็น 4 ประเภท คือ
แชร์แวร์ (Shareware)
                  แชร์แวร์ (Shareware) คือโปรแกรมรุ่นทดลองใช้ ซึ่ง
ผู้ผลิตโปรแกรมนี้มาทดลองใช้ โดยจะกำหนดระยะเวลาในการใช้งาน เช่น 30 วัน หรือ 60 วัน นับจากวันที่เราติดตั้ง
เดโมแวร์ (Demoware)
                เดโมแวร์ (Demoware) คือ โปรแกรมรุ่นทดลองใช้ มีลักษณะคล้ายกับโปรแกรมประเภทแชร์แวร์ แต่จะถูกกำกัดขอบเขตใช้งาน
                                                  
            โปรแกรมรุ่นเบต้า (Brta Software)
โปรแกรมรุ่นเบต้า (Brta Software)   บางครั้งอาจเรียกว่าโปรแกรมอัลฟา  ซึ่งโปรแกรมในรูปแบบนี้่  จะเป็นโปรแกรมที่ย้งสร้างไม่เสร็จสมบูรณ์
         โปรแกรมฟรี (F\reeware)
บนระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโปรแกรมมากมายที่ให้โปรแกรมฟรี ซึ่งสามารถดาวโหลดไปย้งใช้งาน ได้

          ขั้นตอนการดาวโหลด
บบระบบเครี่อข่ายอินเตอร์เน็ตได้มีไฟล์ข้อมูลต่าง ๆ มากมาย โดยอาจจะถูกจัดเก็บไว้ใน เว็บไชต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเหล่านั้น หรือเว็ยไชต์ต่างๆ


บทที่ 6 จดหมายอีเล็กทอนิกส์

               บทที่ 6 จดหมายอิเล็กทอรนิกส์

               E-mail  หรือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นอิกรูปแบบหนึ่งของบริการที่นิยมมากรองมาจากเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในอินเตอร์เน็ตปัจจุบัน การส่งจดหมายอิเล็กทอรนิกส์จะแต่งต่างจากการส่งจดหมายทางไปรษณีย์คือ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
         ความหมาย     ย่อมาจาก  อelectronic mail     (แปลว่า ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์)   หมายถึง     การสื่อสารหรือการส่งข้อความ โน้ต หรือบันทึกออกจากคอม พิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ผ่านไปเข้าเครื่องปลายทาง (terminal) หรือเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งโดยส่งผ่านทางระบบเครือข่าย (network) ผู้ส่งจะต้องมีเลขที่อยู่ (e-mail address) ของผู้รับ และผู้รับก็สามารถเปิดคอมพิวเตอร์เรียกข่าวสารนั้นออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยปกติ จะไม่มีการพิมพ์ข้อความหรือข่าวสารนั้นลงแผ่นกระดาษ นับว่าเป็นการประหยัดกระดาษไปได้ส่วนหนึ่ง โดยทั่วไป ถือกันว่าเป็นงานส่วนหนึ่งของสำนักงานอัตโนมัติ (office automation) ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอันมาก





E-mail       หรือ    จดหมายอิเล็กทรอนิคส์เป็นบริการอย่างหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมาก จนทำให้บางคนคิดว่า E-mail คือ อินเตอร์เน็ต และอินเตอร์เน็ตคือ E-mail วิธีใช้งานอีเมลล์ก็ง่ายและมีประโยชน์มาก
การทำงานของ E-mail มีลักษณะคล้ายกับระบบไปรษณีย์ปกติPosted by sunanta thaiyim at 3:48 AM 1 comments: sunanta thaiyim said...(หมายถึงระบบที่ใช้กระดาษในการเขียนจดหมาย) กล่าวคือในระบบไปรษณีย์ปกติมีหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการรับส่งจดหมายคือเป็นบรุษไปรษณีย์ (ในกรณีของประเทศไทยคือ การสื่อสารแห่งประเทศไทย) ถ้าเป็นในอินเตอร์เน็ตสิ่งที่ทำหน้าที่คอยรับส่งจดหมายคือบรรดาคอมพิวเตอร์ทั้งหลายที่ทำหน้าที่เป็น E-mail Server (คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ให้บริการด้านจดหมายอิเล็กทรอนิคส์) ดังนั้นถ้าท่านต้องการใช้ E-mail สิ่งแรกที่ท่านต้องทำคือไปสมัครเป็นสมาชิกหรือไปทำการลงทะเบียนกับอีเมลล์เซิร์ฟเวอร์ จะเป็นเซิร์ฟเวอร์ใดก็ได้ บรรดาอีเมลล์เซิร์ฟเวอร์ทั้งหลายนี้สามารถจัดแบ่งออกได้เป็นสามประเภทดังนี้อีเมลล์เซิร์ฟเวอร์ของหน่วยงานที่ท่านทำการศึกษาอยู่หรือทำงานอยู่ เช่น นิสิต อาจารย์ ข้าราชการ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็สามารถลงทะเบียนหรือสมัครเป็นสมาชิกได้กับคอมพิวเตอร์ที่เป็นอีเมลล์เซิร์ฟเวอร์ของจุฬา ฯ ได้ อีเมลล์เซิร์ฟเวอร์ของ ISP ( Interner Service Provider - หน่วยงานที่ให้บริการอินเตอร์เน็ต ) เช่น KSC เป็นต้น ท่านสามารถสมัครหรือลงทะเบียนกับหน่วยงานประเภทนี้ได้ แต่ต้องเสียค่าสมาชิกให้แก่หน่วยงานประเภทนี้ด้วย อีเมลล์เซิร์ฟเวอร์ของหน่วยงานที่ให้บริการฟรี เป็นบริการฟรีที่เปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าไปลงทะเบียนหรือสมัครเป็นสมาชิกได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เช่น hotmail เป็นต้น

ภายหลังจากที่ท่านลงทะเบียนกับอีเมลล์เซิร์ฟเวอร์แล้ว ท่านก็สามารถใช้อีเมลล์ได้ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนจดหมาย ส่งจดหมาย และรับจดหมาย มีอยู่หลายตัวด้วยกัน ยกตัวอย่างเช่น pine, Netscape, Outlook เป็นต้น ท่านจะเลือกใช้ซอฟต์แวร์ตัวไหนก็ได้แล้วแต่ความชอบใจของตัวท่านเอง ท่านไม่จำเป็นต้องรู้วิธีใช้ซอฟต์แวร์ด้านอีเมลล์ทุกตัว ท่านรู้เพียงตัวเดียวก็พอ ตัวจดหมายอิเลคทรอนิคส์แบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่คือ Heading ส่วนนี้ใช้ระบุ E-mail address ของผู้รับจดหมาย และ Attachment (สิ่งที่ส่งมาด้วย) Body ส่วนนี้เป็นส่วนที่เป็นเนื้อความจดหมาย อีเมลล์แอดเดรส์ของผู้รับจดหมายประกอบด้วยสองส่วนคือ ส่วนที่เป็นรหัสบัญชี( user account) ของผู้รับจดหมาย และส่วนที่เป็นชื่อของอีเมลล์เซิร์ฟเวอร์ของผู้รับ ทั้งสองส่วนนี้ถูกคั่นด้วยเครื่องหมาย @ ตัวอย่าง E-mail address vapisit@pioneer.chula.ac.th รหัสบัญชีคือ vapisit และอีเมลล์เซิร์ฟเวอร์คือ pioneer.chula.ac.th kpeter@yahoo.com รหัสบัญชีคือ kpeter และอีเมลล์เซิร์ฟเวอร์คือ yahoo.com attachment (สิ่งที่ส่งมากับอีเมล์)อาจเป็นไฟล์ประเภทไหนก็ได้ เช่น ไฟล์ที่เป็นข้อความล้วน ๆ (text) ไฟล์ที่ข้อมูลรูปภาพ กล่าวคือเป็นสื่ออะไรก็ได้ประโยชน์ที่ท่านที่เป็นผู้ใช้อีเมลล์จะได้รับมีดังนี้ท่านสามารถส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เมื่อไรก็ได้ตามที่ท่านต้องการ จะเป็นกลางคืนหรือกลางวันก็ได้จดหมายจะถึงมือผู้รับภายในเวลาอันรวดเร็ว อาจภายในไม่กี่นาที หรือภายในไม่กี่ชั่วโมง ไม่ว่าผู้รับจดหมายนั้นจะอยู่ใกล้หรือไกล ผู้รับจดหมายก็สามารถรับและเปิดอ่านจดหมายได้เมื่อไรก็ได้ตามที่เขาต้องการท่านสามารถส่งจดหมายไปยังผู้รับคนเดียว หลายคน หรือจำนวนมากเป็นร้อยคน เป็นพันคนได้ ซอฟต์แวร์ของอีเมล์ส่วนใหญ่จะมีวิธีช่วยให้ท่านเก็บรายชื่อพร้อมทั้งอีเมลล์แอดเดรสของผู้ที่ท่านต้องการส่งจดหมายไปหา และช่วยจัดเป็นกลุ่มด้วย ถ้าท่านส่งจดหมายไปยังกลุ่มก็หมายความว่าทุกคนในกลุ่มก็ได้รับจดหมายนั้น ท่านสามารถเก็บจดหมายที่ได้รับ(จากเพื่อน ผู้ร่วมงาน หรือหัวหน้า)บางฉบับไว้ได้ ถ้าท่านเห็นว่าจดหมายนั้นมีความสำคัญ เช่น ไว้เตือนความจำว่ามีงานอะไรต้องทำ หรือ ได้ตกลงเรื่องอะไรไว้กับใครบ้างปัญหาที่ท่านอาจพบในการใช้อีเมลล์จดหมายหาย ปัญหานี้อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ความผิดพลาดของคน ความผิดพลาดของซอฟต์แวร์ ความล้มเหลวของฮาร์ดแวร์ เป็นต้นจดหมายส่งไปผิด คือไปยังผู้รับผิดคน ปัญหานี้อาจเกิดการที่ระบุอีเมลล์แอดเดรสของผู้รับผิดการปลอมจดหมาย

                  โปรโตคอลสำหรับส่งอีเมล
                   การทำงานทั่วๆไปของอีเมล์โดยสรุปมีเพียง 2 ประเภท คือกานส่งอี เมล์และการรับอีเมล์ โดย    โปรโตคอล SMTP(Simple Mail Transfer Protocol) จะใช้จะที่User agent ส่งอีเมล์มาที่MTA (เฉพาะแบบoffline) และใช้ขณะรับและส่งอีเมล์ระหว่างMTA(Mail Transfer Agent) ด้วยกัน สำหรับการใช้เมล์แบบ offline คือเครื่องที่ผู้ใช้ใช้อ่านเมล์ไม่ได้ต่อกับเครื่องที่มีเมลล์บ็อก
       
POP   เป็นโปรโตคอลที่ทำหน้าที่โหลดอีเมล์มาจากMTA ไปยัง User Agent ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนามาจนถึงเวอีรชั้นที่3 แล้ว โปรโตคอลนี้เป็นตัวแรกที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้รับอีเมล์ และเพื่อให้สนับสนุนการทำงานในแบบoffline โดยจะติดต่อเข้าไปยังเมล์เซิร์ฟเวอร์แล้วดาวน์โหลดอีเมล์ทั้งหมดมาไว้ที่ User Agent จากนั้นจะลบอีเมล์ที่เซิร์ฟเวอร์นั้นทิ้งไป เพื่อป้องกันการดาวน์โหลดซ้ำ แต่ผู้ใช้จะทำงานแบบOnline กับ เซิร์ฟเวอร์ไม่ได้ เนื่องจากการอ่านอีเมล์จะดึงอีเมล์ที่เก็บไว้ในUser Agent ขึ้นมาให้อ่านหลังจากที่ดาวน์โหลดมาเก็บไว้ ซึ่งในขณะนั้นอาจจะไม่ได้ออนไลน์อยู่กับเนตเวิกก็ได้
โปรโตคอลของPOP3 จะทำงานในแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ คือมีโปรแกรมPOP server ในเมล์เซิร์ฟเวอร์ และPOP Client ในเครื่องผู้รับ ซึ่งปกติจะฝังอยู่ในโปรแกรมที่เป็นUser Agent เลย โปรแกรมทั้งสองจะติดต่อกันโดยใช้ชุดคำสั่งที่เป็นรหัสASCII
การทำงานของPOP3 จะทำงานร่วมกับโปรโตคอลTCP โดยทั่วไปจะใช้พอร์ต 110 ในการติดต่อ ขั้นตอนการทำงานของPOP3  จะมี3สถานะคือ 


         1.สถานะขออนุมัติ    เมื่อเริ่มต้นติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์จะเป็นการเข้าสู่สถานะการขออนุมัติ โยไคลเอนต์จะต้องแจ้งชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน(Password) เพื่อขออนุมัติจากเซิร์ฟเวอร์ก่อน โดยไคลเอนต์จะใช้คำสั่งUSER เพื่อระบุชื่อผู้ใช้ หรือคำสั่ง PASS เพื่อกำหนด Password แต่ในกรณีที่ชื่อและ Password ถูกเข้ารหัสไว้ และไม่ได้เป็นค่าASCII ทั่วไปไคลเอนต์จะใช้คำสั่ง APOP ทำงานแทนคำสั่ง USER และ PASS
         2.สถานะรับส่งรายการ  หลังจากที่ได้รับอนุมัติจากเซิร์ฟเวอร์แล้ว ก็จะเข้าสู่สถานะที่ใช้คำสั่งในการทำงานต่างๆ
         3.สถานะปรับปรุงข้อมูล   เมื่อ User Agent เลิกใช้งานด้วยคำสั่งQUIT ของPOP3 เซิร์ฟเวอร์ก็จะเข้าสู่สถานะปรับปรุงข้อมูล เพื่อลบอีเมล์ที่ดาวน์โหลดเรียบร้อยแล้วออกไป จากนั้นก็จะเข้าสู่สถานะขออนุมัติใหม่โดยอัตโนมัติ เพื่อรอรับการทำงานครั้งต่อไป


รูปแบบของอีเมล และอีเมลแอดเดรส
 
อินเทอร์เน็ตโดยการซื้อชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นบริการเพื่อเพิ่มเติมให้แก่ลูกค้า และเป็นบริการที่สามารถติดต่อกับสมาชิกได้อย่างรวดเร็วสำหรับการใช้บริการอีเมลรูปแบบนี้มักจะเกิดปัญหาคือ เมื่อเราเปลี่ยนการขอให้บริการอินเทอร์เน็ตจะถูกยกเลิกทันที
1.             อีเมลจากองค์กร เช่น บริษัท สถาบันศึกษา หน่วยงาน หรือองค์กรต่างๆ ซึ่งจะเป็นอีเมลที่ให้บริการ
เฉพาะกลุ่มบุคคลที่เป็นสมาชิกอยู่ภายใต้องค์กรนั้นๆ
2.             อีเมลฟรี คือ เว็บไซต์ที่ให้บริการรับส่งจดหมายบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยไม่จำกัดกลุ่มบุคคล
ซึ่งใครที่ต้องการใช้บริการก็สามารถที่จะเข้ามาลงทะเบียนสมาชิกเพื่อขออีเมลแอดเดรสได้ทันที่โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ

ชื่อผู้ใช้ (Username) คือ    ชื่ออะไรก็ได้ผู้ขอใช้บริการอีเมลได้ตั้งขึ้นโดยจะต้องไม่ซ้ำกับสมาชิกคนอื่นที่มีที
                                                อยู่เดี่ยวกัน
@                                คือ    อ่านว่า แอท”  เป็นสัญลักณ์ที่คั่นระหว่างชื่อและที่อยู่ของอีเมลแอดเดรส
ที่อยู่                             คือ    ชื่อโดเมนเนมของเว็บไซต์ที่ให้บริการอีเมล
ประเภทของอีเมล 
             
อีเมลได้กลายเป็นสิ่งที่จำเป็นในการสื่อสารของโลกยุคปัจจุบัน สำหรับผู้ใช้อินเทอรืเน็ตเพราะ สะดวก ประหยัด และรวดเร็ว ดังนั้นการให้บริการอีเมลจึงมีหลายรูปแบบ ดังนี้ อีเมลจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต คือ อีเมลที่ได้มาเมื่อเราสมัครเป็นสมาชิกของผู้ใช้ให้บริการด้าน
ขั้นตอนการขอใช้บริการอีเมล
        เว็บไซต์หลายๆเว็บไซต์ที่เปิดบริการเมลที่เซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้บริการด้านอรเมลแก่ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตทั่ว ๆไปซึ่งเป็นอีเมลฟรี โดยให้บริการเลือกใช้บริการได้ แต่ละคนสามารถที่จะมีอีเมลแอดเดรสของตนเองได้เกินกว่า 1 อีเมลแอดเดรส โดยมีขั้นตอนในการสมัครขอให้บริการอีเมลฟรีจากwww.yahoo.com ซึ่งสามารถสมัครได้ดังนี้

การเขียนและการส่งจดหมาย 
ขั้นตอนการเขียนจดหมายและการส่งจดหมายสามารถทำได้ ดังต่อไปนี้
1.ทำการ Log in  เพื่อเปิดบ็อกซ์ขึ้นมาใช้งาน โดยต้องกำหนด ดังนี้
Yahoo! ID : ชื่อผู้ใช้บริการ (Username)
Password : รหัสผ่านที่ได้กำหนดไว้Remember my ID on this computer : เมื่อคลิกเลือกแล้วจะทำให้ในครั้งต่อไป หลังจากกำหนด Yahoo! ID แล้วจะไม่ต้องป้อนรหัสผ่านในการ Log in อีก เพราะได้จำรหัสผ่านไว้ให้เรียบแล้วสำหรับในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนี้
2. Sign in : คลิกที่ Sign in    เพื่อทำการตรวจสอบ  Yahoo! ID และ Password เมื่อถูกต้องแล้วจึงจะสามาถเข้าไปใช้งานภายใน Yahoo! Mail ได้
3. หลังจากตรวจสอบ Yahoo! ID และ Password ถูกต้องแล้วจะปรากฏตามที่หน้าจอ
4.ถ้าต้องการตรวจสอบจดหมายที่เข้ามาในเมลบ็อกซ์ให้คลิกที่ Cheek Mail
5.ถ้าต้องการที่จะเขียนจดหมายให้คลิกที่ Compo
องค์ประกอบภายในกล่องจดหมาย

เมนูหลักประกอบด้วย 4 เมนูดังนี้
1. Inbox : กล่องจดหมายจะแสดงจดหมายที่อยู่ในกล่องจดหมายทั้งหมด โดยจะจัดเรียงตามวันที่ของจดหมายที่เข้ามา
2.Sent : จดหมายออกจะแสดงจดหมายที่ได้เขียนและส่งออกไปยังผู้รับ โดยจะจัดเรียงตามลำดับของการส่ง
จดหมายออกก่อนหลัง
3.Draft : กล่องเก็บสำเนาจดหมายในบางครั้งเมื่อส่งจดหมายออกไปแล้วต้องการที่จะเก็บจดหมายไว้เพื่ออ่าน หรือเพื่อดูว่าได้ส่งจดหมายไปยังใครบ้าง หรือเมื่อต้องการที่จะส่งจดหมายฉบับเดิมอีกจะไม่ต้องเสียเวลาเขียนจดหมายใหม่ สามารถนำจดหมายที่อยู่ในกล่องเก็บสำเนาจดหมายมาใช้ส่งต่อไปยังผู้รับได้เลย

4.Trash : ถังขยะเมื่อเราได้อ่านจดหมายจากกล่องจดหมายเข้าเรียบร้อยแล้ว ก็ควรจะลบจดหมายฉบับนั้นออก เพราะการสมัครอีเมลฟรีนั้น เมลเซิร์ฟเวอร์จะให้พื้นที่ในการเก็บจดหมายจำนวนไม่มากนัก

Addresses
Addresses คือ การบันทึกอีเมลแอดเดรสของบุคคลต่างๆไว้ในเมลบ็อกซ์เช่นกันกับการบันทึกหมายเลขโทรศัพท์ของเพื่อนไว้ในเครื่องโทรศัพท์มือถือ เพื่อสะดวกในการสื่อสารกันในครั้งต่อไป ซึ่งเราจะไม่ต้องพิมพ์อีเมลแอดเดรสของบุคคลคนนั้นอีก เพียงแต่เปิดเมนูแอดเดรสขึ้นมาแล้วจะสามารถเลือกที่อยุ่ของบุคคลที่ต้องการเขียนจดหมายไปถึงได้ทันที

Calendar
Calendar คือ ปฏิทินสำหรับบันทึกตารางงานการปฏิบัติงาน โดยจัดแบ่งเป็นวัน สัปดาห์ เดือน ปี และเรียนตามเหตุการณ์ เพื่อช่วยให้สะสวก

Notepad
                Notepad เปรียบเสมือนสมุดบันทึกช่วยจำโดยให้พิมพ์ข้อความต่างๆที่ต้องการบันทึกเก็บไว้ในโฟลเดอร์ และเราสามารถที่จะเปิดออกมาอ่านเมื่อใดก็ได้ โดยกำหนดการบันทึกได้ ดังต่อไปนี้
1.เลือกเมนู Notepad
2.พิมพ์ข้อความที่ต้องการบันทึกในช่อง Notes
3.ถ้ายังไม่มีโฟลเดอร์ที่ต้องการจัดเก็บ ให้คลิกเลือกที่ Save and Add Another จะปรากฏข้อความเพื่อให้กำหนดชื่อของโฟลเดอร์ใหม่
4.ถ้าได้กำหนดโฟลเดอร์ไว้แล้วจะสามารถเลือกชื่อโฟลเดอร์ที่ต้องการจัดเก็บจากช่อง Folder ได้ทันที
5.แสดงรายการที่ได้รับบันทึกไว้ใน Notepad
6.ถ้าต้องการเพิ่มบันทึกข้อความ ให้เลือกที่ Add Note
7.ถ้าต้องการเพิ่มโฟลเดอร์ ให้เลือกที่ Add Note
8.เมื่อต้องการที่จะอ่านบันทึกข้อความเรื่องใด ให้คลิกที่เรื่องนั้น
9.แต่ถ้าการลบบันทึกข้อความเรื่องใด ให้คลิกเลือกที่ช่องด้านหน้าข้อความนั้นจะปรากฏเครื่องหมาย þ แล้วให้คลิกเลือกที่ Delete จะทำการลบบันทึกข้อความที่เลือกนั้นทันที

การอ่านจดหมาย
เมนู INBOX
    หน้าจอแรกที่ปรากฏคือ INBOX เป็นส่วนที่แสดงรายการจดหมายที่ได้รับ หากหน้าจอของท่านไม่แสดง
 การกู้จดหมายกลับคืน
เนื้อหาของจดหมายฉบับนั้นจะปรากฏขึ้นดังตัวอย่าง
2.4 หากต้องการอ่านจดหมายฉบับถัดไปให้คลิกเครื่องหมาย >
2.5 หากต้องการอ่านจดหมายฉบับก่อนหน้าให้คลิกเครื่องหมาย
2.6 กรณีจดหมายนั้นมีไฟล์แนบมากับจดหมายด้วย สามารถแยกไฟล์ออกจากจดหมายที่ส่งมาได้ดังนี้
2.6.1 จดหมายที่มีไฟล์ส่งมาด้วยจะปรากฏสัญลักษณ์ รูป disket พร้อมชื่อไฟล์ที่ส่งมา
การลบจดหมาย
เป็นการกำจัดจดหมายที่ไม่ต้องการออกจากกล่องจดหมาย ซึ่งจดหมายที่ถูกลบไปนั้นจะถูกย้ายไปอยู่ในแฟ้มถังขยะ ซึ่งท่านสามารถที่จะนำเอาจดหมายกลับคืนมาได้อีกในกรณีที่ท่านลบจดหมายผิด
1.คลิกที่Trash
2.คลิกเลือกที่จดหมายที่ต้องการกู้
3.คลิกที่Moveเพื่อกำหนดสถานที่ที่จะนำจดหมายจากถังขยะไปเก็บไว้
1.(NewFolder)ให้สร้างโฟลเดอร์ไหม่ที่ต้องการเก็บจดหมาย
2.Inboxให้นำจดหมายไปเก็บไว้ในกล่องจดหมายเข้า
4.ถ้าต้องการลบจดหมายก็เพียงแต่คลิกที่จดหมายแล้วคลิกที่Delete

  แบบฝึกหัด บทที่ 6
1. ข้อใดคือความหมายของ "จดหมายอิเล็กทรอนิกส์"
   ก. จดหมายที่รับ-ส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
   ข.  จดหมายที่ใช้สื่อสารกันทั่วไปในปัจจุบัน      
   ค.  จดหมายที่ใช้สื่อสารกันในอินเตอร์เน็ต
    ง. จดหมายที่เขียนขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์

2.  จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) แบบใดที่นักเรียนใช้อยู่ในปัจจุบัน
    ก.  Graph airmail client
    ข.  Web base
    ค.  IMAP protocol
  ง.  POP3

3. E-mail Address คืออะไร
   ก.  ที่อยู่ทางอีเมล์
   ข.  ชื่อของผู้ส่งจดหมาย
   ค.   ชื่อของผู้รับจดหมาย
   ง.   ตู้จดหมาย


4. นักเรียนจะส่งอีเมล์ได้ ต้องมีอะไรบ้าง
      ก.   E-mail Address ของผู้รับ-ผู้ให้บริการ
     ข.  E-mail Address ของตนเอง-ผู้ให้บริการ
     ค.   E-mail Address ของผู้รับ-ของผู้ส่ง-ผู้ให้บริการ
     ง.   E-mail Address ของผู้รับ-ของผู้ส่ง

5. เมื่อนักเรียนส่งอีเมล์ จดหมายของนักเรียนจะไปอยู่ที่ใด
    ก.  เครื่องของผู้รับ
    ข.  เครื่องของผู้ส่ง
    ค.  เครื่องของผู้ให้บริการ
    ง.   เครื่องของผู้รับและเครื่องของผู้ส่ง
6. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน้าที่คล้ายเจ้าหน้าที่ในที่ทำการไปรษณีย์ ทำหน้าที่รับจดหมายจากเรา
    เพื่อส่งต่อไปให้ผู้รับจดหมายที่เราจ่าหน้าซองไว้ คือข้อใด
    ก.  POP3 server
    ข.  SMTP
    ค.  Protocol 
     ง.   TCPIP
7. ข้อใดคือ กล่องหรือที่สำหรับเก็บอีเมล์ ที่มีผู้ส่งเข้ามา
     ก.  Inbox
     ข.  Outbox
      ค. Subject
       ง.  Attach
8. ข้อใดคือการแนบไฟล์เอกสาร หรือโปรแกรมต่าง      
ไปกับอีเมล์ฉบับนั้น
ก.  Inbox
ข.  Outbox 
ค.  Subject
ง.  Attach
     ก.  Cc: (Carbon Copy)
9. ข้อใดหมายถึง การส่งตอบจดหมายกลับไปยังผู้ส่ง
      ข.  Bcc: (Blind Carbon Copy)
      ค.  Forward
       ง.   Reply
10. ข้อใด เป็นการส่ง mail ให้กับผู้รับหลาย ๆ คน โดยที่ทุกคนทราบว่าจดหมายฉบับนี้ถูกทำสำเนาเพื่อที่จะส่งให้
   ผู้รับหลายคน
        ก. Cc: (Carbon Copy) 
        ข.  Bcc: (Blind Carbon Copy)
        ค.  Forward
        ง.   Reply